พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
ตะกรุด หลวงพ่อท...
ตะกรุด หลวงพ่อทบ วัดชนแดน 2 ใส้ ยุคกลาง
ตะกรุดยุคกลาง 2k สภาพสวย เดิม ถักลายมาตรฐาน ยาว 5 นิ่ว
การสร้างตะกรุดหลวงพ่อทบ
การสร้างตะกรุดหลวงพ่อทบจะใช้ช่างชาวบ้านและพระเณรมาช่วยกันทำเริ่มจากการตัดโลหะก็จะตัดตามขนาดที่ต้องการแล้วก็นำไปม้วนช่วงแรกๆจะมีการม้วนด้วยมือแต่งานออกมาจะไม่ค่อยสวยต่อมาเลยดัดแปลงโดยใช้ไม้หีบมาคีบแล้วม้วนตะกรุดชุดนี้จึงม้วนได้แน่นและสวยงาม..แต่มีปัญหาเวลาม้วนเสร็จโลหะจะคลี่ออกทุกดอกจึงได้ลองทุบหัวตะกรุดดูปรากฏว่าตะกรุดำม่คลี่ออก...ตั้งแต่นั้นมาตะกรุดหลวงพ่อทบจึงมีการเก็บหัวตะกรุดด้วยการทุบหัวทั้งสองข้างจนติดปากชาวบ้านว่าตะกรุดหลวงพ่อทบต้องทุบหัว... ในยุคต้นๆการเก็บหัวตะกรุดจะใช้การทุบหัวบนไม้เลียบๆทั้งสองด้านงานออกมาจึงบุบๆบี้ๆในตะกรุดยุคต้นๆตะกรุดยุคต้นนั้นหลวงพ่อทบท่านจารเองลงอักขระเองจนมายุคกลางหลวงพ่อทบจึงมอบหมายให้พระอาจารย์เพ็งลูกศิษย์ที่หลวงพ่อทบไว้ใจมากที่สุดในการจารแผ่นโลหะทุกแผ่นครับ การพันตะกรุดหลวงพ่อทบหลวงพ่อไม่ได้กำหนดลายถักขึ้นอยู่กับจินตนาการของคนถักเองจะเห็นได้ว่าตะกรุดของหลวงพ่อทบจะมีหลายลายครับไม่ถือเป็นข้อยุติ ในยุคกลางเรื่มมีการทำเครื่องมือในการใช้เก็บและย้ำหัวตะกรุดขึ้นมา...คล้ายๆกับตะปูตีสังกะสี...มีแท่งเหล็กตรงกลางแล้วมีหมวก...ก็จะเอาแท่งเหล็กเสียบลงไปในรูของตะกรุดส่วนหมวกก็จะวางบนหัวตะกรุด จากนั้นก็ใช้ค้อนตอกไล่เบาๆ การเก็บกัวแบบนี้งานจะออกมาสวยงามเป็นระเบียบสวยกว่ายุคต้นๆและอีกอย่างตะกรุดของหลวงพ่อทบในยุคกลางเริ่มมีตะกรุด3 กษัตริย์เข้ามาทำให้การเก็บหัวตะกรุดแบบเดิมๆทำไม่ได้แล้ว เชือกที่ใช้พันตะกรุดของหลวงพ่อทบนั้นจะใช้เชือกแท้ เชือกป่านเชือกปอ และเชือกไนลอน การพันด้วยในลอนเป็นงานที่ยากมากๆเพราะเชือกจะลื่นส่วนใหญ่ตะกรุดที่ใช้เชือกไนลอนพันจะพบว่าจะพันแค่ 2 เส้นเท่านั้นเพราะจะทำให้พันง่ายสอดซ่อนเงื้อนได้ง่ายกว่าใช้เชือกเส้นใหญ่...นี้ก็เป็นเอกลักษ์อีกอย่างในการพิจารณาตะกรุดหลวงพ่อทบ การพันตะกรุดหลวงพ่อทบโดยจะเริ่มพันรอบแรกแล้วจะเก็บซ่อนเงื้อน1เส้นแล้วเหลือหัวเชือกไว้ประมาณ 1-2 นิ้วเพื่อใช้ดึงเชือกรัดตะกรุดให้แน่นในขั้นตอนสุดท้าย เมื่อพันไปจนเสร็จแล้วก็จะเก็บหัวเชือกโดยการพันยึดกับเชือกเส้นสุดท้ายแล้วสอดเชือกกลับไปที่เริ่มต้นจนปลายเชือกโพล่จากนั้นก็จะใช้มือกำตะกรุดแล้วหมุนเชือกรอบๆตะกรุดจนแน่นแล้วก็ดึงปลายเชือกที่โพล่ออกมาให้ตึงเชือกจะรัดตะกรุดจนแน่นแล้วก็ตัดปลายเชือกที่เกินออก....จากนั้นก็จะนำตะกรุดไปทุบหัวให้ปลายตะกรุดทั้งสองข้างบานออกเพื่อล็อคเชือกที่พันไว้ไม่ให้หลุด...ตรงนี้ก็เป็นเอกลักษณ์อีกอย่างครับของการพิจารณาตะกรุดหลวงพ่อทบ....ในยุคกลางลงมาการเก็บเชือกจะไม่สวยงามเหมือนยุคต้นๆเพราะเวลาในการสร้างน้อยความต้องการตะกรุดของหลวงพ่อมีมาก ท่านอาจารย์เพ็งเคยเล่าให้อาจาร์วีรวัฒน์ฟังว่าตะกรุดบางรุ่นของหลวงพ่อทบไม่พันเชือกก็มีเป็นตะกรุดเปลือยๆช่วงนั้นตะกรุดชุดนี้จะเอาไปแจกที่จังหวัดจันทบุรีและตราด ปัจจุบันเล่นเป็นพระเกจิในพื้นที่ไปแล้ว การเก็บปลายเชือกยุคกลางปมจะใหญ่มากหรือไม่ก็เอาไฟจี้เอาเลยจะสังเกตุได้ว่าตะกรุดยุคปลายและยุคปลายจะเห็นมีการใช้ไฟจี้เอาเลย...
การพิจารณายุคของตะกรุดหลวงพ่อทบ
1.นอกจากพิจารณาจากความเก่าของโลหะแล้วยังพิจารณาจาก การเก็บหัวตะกรุด ยุคต้นการเก็บหัวจะไม่เรียบร้อย ส่วนยุคกลางและยุคปลายจะมีการเก็บหัวที่สวยงามเป็นระเบียบ
2. พิจารณาจากการเก็บปลายเชือกในยุคต้นๆการเก็บปลายเชือกจะมองแทบไม่รู้เลยเพราะการเก็บปลายเชือกไว้ใต้เชือกที่พัน ส่วนยุคกลางจะผูกปมค่อนข้างใหญ่หรือไม่ก็มัดเอาดื้อๆ และมีการใช้ไฟจี้เพื่อให้เชือกติดกันเป็นข้อสังเกตุอีกอย่าง
3. ขนาดของตะกรุดใยยุคต้นตะกรุดจะดอกไม่ใหญ่มีทั้งดอกสั้นและดอกยาวใช้โลหะ1-2 ชนิด ในยุคกลางตะกรุดจะเริ่มใหญ่ขึ้นมีทั้งดอกสั้นและดอกยาวและการม้วนโลหะจะหนากว่าทุกรุ่นส่วนยุคปลายดอกจะไม่ใหญ่มากแต่จะมีโลหะตั้งแต่ 2 อย่างขึ้นไป
4. ตะกรุดของหลวงพ่อทบส่วนใหญ่...ตรงนี้สังเกตุให้ดีครับ ขอบทั้ง 4 ด้านของแผ่นโลหะจะตัดมุนออกทั้ง 4 มุม สังเกตุให้ดีครับจะเห็นได้ทั้งด้านในและด้านนอกครับ...ตรงนีเชื่อว่ายังไม่มีใครเคยสังเกตุลองดูครับส่วนใหญ่จะมีครับ...ขอบคุณข้อมูลจากทีมงานเปิดตำนานหลวงพ่อทบ
ผู้เข้าชม
15483 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
แดงสิชล
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
ร้านค้า
-
โทรศัพท์
0907178757.......0945782578
ไอดีไลน์
dangsichon785785
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 692-0-04529-8
ตะกรุด เนื้อชินเงิน กรุบ้านหนอ
ดอกพิกุล เงิน พิเศษมีจาร หลวงพ
ไม้ครู กระดูกปลาพยูน พ่อท่านลา
ลูกสะกดแร่บางไผ่ เม็ดเล็กน่าใช
ลูกอมมหาเสน่ หลวงพ่อสงวน ยุคต้
พระไส รุ่น2 พลอยเขียว
รัดประคต หลวงปู่จันทร์ วัดทุ่ง
ล็อคเก็ตหลวงปู่สรวง ซำปสาท
พระยอดขุนพล กรุนาสน พิมย์ฐานบั
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
Le29Amulet
ว.ศิลป์สยาม
TotoTato
Erawan
someman
ยุ้ย พลานุภาพ
chaithawat
kaew กจ.
Putanarinton
fuchoo18
สยามพระเครื่องไทย
holypanyadvm
NongBoss
พระดี46
ก้อง วัฒนา
ภูมิ IR
เสือรากไทร
Pannee26
Chumphol
บ้านพระสมเด็จ
บ้านพระหลักร้อย
ep8600
สายน้ำอุ่น
เจริญสุข
Airphaputorn
กรัญระยอง
Achi
หมี คุณพระช่วย
natthanet
RAPIN
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1184 คน
เพิ่มข้อมูล
ตะกรุด หลวงพ่อทบ วัดชนแดน 2 ใส้ ยุคกลาง
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
ตะกรุด หลวงพ่อทบ วัดชนแดน 2 ใส้ ยุคกลาง
รายละเอียด
ตะกรุดยุคกลาง 2k สภาพสวย เดิม ถักลายมาตรฐาน ยาว 5 นิ่ว
การสร้างตะกรุดหลวงพ่อทบ
การสร้างตะกรุดหลวงพ่อทบจะใช้ช่างชาวบ้านและพระเณรมาช่วยกันทำเริ่มจากการตัดโลหะก็จะตัดตามขนาดที่ต้องการแล้วก็นำไปม้วนช่วงแรกๆจะมีการม้วนด้วยมือแต่งานออกมาจะไม่ค่อยสวยต่อมาเลยดัดแปลงโดยใช้ไม้หีบมาคีบแล้วม้วนตะกรุดชุดนี้จึงม้วนได้แน่นและสวยงาม..แต่มีปัญหาเวลาม้วนเสร็จโลหะจะคลี่ออกทุกดอกจึงได้ลองทุบหัวตะกรุดดูปรากฏว่าตะกรุดำม่คลี่ออก...ตั้งแต่นั้นมาตะกรุดหลวงพ่อทบจึงมีการเก็บหัวตะกรุดด้วยการทุบหัวทั้งสองข้างจนติดปากชาวบ้านว่าตะกรุดหลวงพ่อทบต้องทุบหัว... ในยุคต้นๆการเก็บหัวตะกรุดจะใช้การทุบหัวบนไม้เลียบๆทั้งสองด้านงานออกมาจึงบุบๆบี้ๆในตะกรุดยุคต้นๆตะกรุดยุคต้นนั้นหลวงพ่อทบท่านจารเองลงอักขระเองจนมายุคกลางหลวงพ่อทบจึงมอบหมายให้พระอาจารย์เพ็งลูกศิษย์ที่หลวงพ่อทบไว้ใจมากที่สุดในการจารแผ่นโลหะทุกแผ่นครับ การพันตะกรุดหลวงพ่อทบหลวงพ่อไม่ได้กำหนดลายถักขึ้นอยู่กับจินตนาการของคนถักเองจะเห็นได้ว่าตะกรุดของหลวงพ่อทบจะมีหลายลายครับไม่ถือเป็นข้อยุติ ในยุคกลางเรื่มมีการทำเครื่องมือในการใช้เก็บและย้ำหัวตะกรุดขึ้นมา...คล้ายๆกับตะปูตีสังกะสี...มีแท่งเหล็กตรงกลางแล้วมีหมวก...ก็จะเอาแท่งเหล็กเสียบลงไปในรูของตะกรุดส่วนหมวกก็จะวางบนหัวตะกรุด จากนั้นก็ใช้ค้อนตอกไล่เบาๆ การเก็บกัวแบบนี้งานจะออกมาสวยงามเป็นระเบียบสวยกว่ายุคต้นๆและอีกอย่างตะกรุดของหลวงพ่อทบในยุคกลางเริ่มมีตะกรุด3 กษัตริย์เข้ามาทำให้การเก็บหัวตะกรุดแบบเดิมๆทำไม่ได้แล้ว เชือกที่ใช้พันตะกรุดของหลวงพ่อทบนั้นจะใช้เชือกแท้ เชือกป่านเชือกปอ และเชือกไนลอน การพันด้วยในลอนเป็นงานที่ยากมากๆเพราะเชือกจะลื่นส่วนใหญ่ตะกรุดที่ใช้เชือกไนลอนพันจะพบว่าจะพันแค่ 2 เส้นเท่านั้นเพราะจะทำให้พันง่ายสอดซ่อนเงื้อนได้ง่ายกว่าใช้เชือกเส้นใหญ่...นี้ก็เป็นเอกลักษ์อีกอย่างในการพิจารณาตะกรุดหลวงพ่อทบ การพันตะกรุดหลวงพ่อทบโดยจะเริ่มพันรอบแรกแล้วจะเก็บซ่อนเงื้อน1เส้นแล้วเหลือหัวเชือกไว้ประมาณ 1-2 นิ้วเพื่อใช้ดึงเชือกรัดตะกรุดให้แน่นในขั้นตอนสุดท้าย เมื่อพันไปจนเสร็จแล้วก็จะเก็บหัวเชือกโดยการพันยึดกับเชือกเส้นสุดท้ายแล้วสอดเชือกกลับไปที่เริ่มต้นจนปลายเชือกโพล่จากนั้นก็จะใช้มือกำตะกรุดแล้วหมุนเชือกรอบๆตะกรุดจนแน่นแล้วก็ดึงปลายเชือกที่โพล่ออกมาให้ตึงเชือกจะรัดตะกรุดจนแน่นแล้วก็ตัดปลายเชือกที่เกินออก....จากนั้นก็จะนำตะกรุดไปทุบหัวให้ปลายตะกรุดทั้งสองข้างบานออกเพื่อล็อคเชือกที่พันไว้ไม่ให้หลุด...ตรงนี้ก็เป็นเอกลักษณ์อีกอย่างครับของการพิจารณาตะกรุดหลวงพ่อทบ....ในยุคกลางลงมาการเก็บเชือกจะไม่สวยงามเหมือนยุคต้นๆเพราะเวลาในการสร้างน้อยความต้องการตะกรุดของหลวงพ่อมีมาก ท่านอาจารย์เพ็งเคยเล่าให้อาจาร์วีรวัฒน์ฟังว่าตะกรุดบางรุ่นของหลวงพ่อทบไม่พันเชือกก็มีเป็นตะกรุดเปลือยๆช่วงนั้นตะกรุดชุดนี้จะเอาไปแจกที่จังหวัดจันทบุรีและตราด ปัจจุบันเล่นเป็นพระเกจิในพื้นที่ไปแล้ว การเก็บปลายเชือกยุคกลางปมจะใหญ่มากหรือไม่ก็เอาไฟจี้เอาเลยจะสังเกตุได้ว่าตะกรุดยุคปลายและยุคปลายจะเห็นมีการใช้ไฟจี้เอาเลย...
การพิจารณายุคของตะกรุดหลวงพ่อทบ
1.นอกจากพิจารณาจากความเก่าของโลหะแล้วยังพิจารณาจาก การเก็บหัวตะกรุด ยุคต้นการเก็บหัวจะไม่เรียบร้อย ส่วนยุคกลางและยุคปลายจะมีการเก็บหัวที่สวยงามเป็นระเบียบ
2. พิจารณาจากการเก็บปลายเชือกในยุคต้นๆการเก็บปลายเชือกจะมองแทบไม่รู้เลยเพราะการเก็บปลายเชือกไว้ใต้เชือกที่พัน ส่วนยุคกลางจะผูกปมค่อนข้างใหญ่หรือไม่ก็มัดเอาดื้อๆ และมีการใช้ไฟจี้เพื่อให้เชือกติดกันเป็นข้อสังเกตุอีกอย่าง
3. ขนาดของตะกรุดใยยุคต้นตะกรุดจะดอกไม่ใหญ่มีทั้งดอกสั้นและดอกยาวใช้โลหะ1-2 ชนิด ในยุคกลางตะกรุดจะเริ่มใหญ่ขึ้นมีทั้งดอกสั้นและดอกยาวและการม้วนโลหะจะหนากว่าทุกรุ่นส่วนยุคปลายดอกจะไม่ใหญ่มากแต่จะมีโลหะตั้งแต่ 2 อย่างขึ้นไป
4. ตะกรุดของหลวงพ่อทบส่วนใหญ่...ตรงนี้สังเกตุให้ดีครับ ขอบทั้ง 4 ด้านของแผ่นโลหะจะตัดมุนออกทั้ง 4 มุม สังเกตุให้ดีครับจะเห็นได้ทั้งด้านในและด้านนอกครับ...ตรงนีเชื่อว่ายังไม่มีใครเคยสังเกตุลองดูครับส่วนใหญ่จะมีครับ...ขอบคุณข้อมูลจากทีมงานเปิดตำนานหลวงพ่อทบ
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
16785 ครั้ง
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
แดงสิชล
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
URL
-
เบอร์โทรศัพท์
0907178757.......0945782578
ID LINE
dangsichon785785
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 692-0-04529-8
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี